ตามที่ได้เกิดเหตุการณ์ปะทะกันของกลุ่มผู้ชุมนุมแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และเจ้าหน้าที่ทหาร-ตำรวจในหลายพื้นที่ส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บล้มตายจำนวนมาก
ตามที่ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศแผนปรองดองเพื่อแก้ไขวิกฤตประเทศไทย โดยได้ระบุถึงการสนับสนุนและยืนยันสิทธิการแสดงออกและการนำเสนอข้อมูลข่าวสารให้ประชาชน
องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก ได้ประกาศให้วันที่ 3 พฤษภาคมของทุกปีเป็น “ วันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก ”
สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย และสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย ขอประณามการกระทำของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.)
ตาม ที่กลุ่มผู้ชุมนุมแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เริ่มเคลื่อนไหวเข้ามาชุมนุมใหญ่ในกรุงเทพมหานครซึ่งเริ่มขึ้นแล้วในวันที่12 มีนาคม นี้
ตามที่มีรายงานข่าวทางหน้าหนังสือพิมพ์และสื่อวิทยุและโทรทัศน์หลายแห่งว่า เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2552 เวลา 18.00 น. ณ โรงแรม เอส ซี ปาร์ค
จากกรณีเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2552 กองกำลังไม่ทราบฝ่ายได้จับกุมและสังหารหมู่ผู้ร่วมเดินทางไปยื่นใบสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดมากินดาเนา
ามที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ UNESCO ได้ประกาศให้วันที่ 3 พฤษภาคม ของทุกปี เป็นวันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก หรือ World Press Freedom Day
จากกรณีที่นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้ก่อตั้งสื่อในเครือเอเอสทีวีผู้จัดการถูกคนร้ายลอบยิงด้วยอาวุธสงครามบริเวณแยกบางขุนพรหม หน้าวัดเอี่ยมวรนุช เกือบ 100 นัด
แถลงการณ์ร่วมขอให้จัดการความขัดแย้งระยะยาวโดยใช้ความเป็นธรรม
จากเหตุการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นักข่าวและช่างภาพสื่อมวลชนทุกแขนง ได้เข้าไปปฏิบัติหน้าที่
จากการที่กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ได้ปิดถนนบริเวณรอบอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิเมื่อวันที่ ๙ และ ๑๐ เมษายน
ภายหลังจากที่พระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย พ.ศ.2551ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2551
จากนโยบายของรัฐบาลที่จะแถลงต่อรัฐสภาในวันจันทร์ที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ ในหมวดว่าด้วยนโยบายการบริหารจัดการที่ดี ระบุว่า
กรณีที่นายจักรภพ เพ็ญแข รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี มีแนวคิดแก้ไขปัญหาวิทยุชุมชน โดยจะจัดทำโครงการทดลองพัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและวิทยุชุมชน
เรื่อง ประณามกลุ่มอันธพาลใช้ความรุนแรงในการชุมนุมทางการเมือง จากกรณีที่นายเสรี อุมา ช่างภาพสถานีกองทัพบกช่อง 7 ถูกขวดแก้วปาเข้าบริเวณศีรษะต้องเย็บหลายเข็มและนอนรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาลเปาโล