เรื่อง ขอให้คณะกรรมาธิการปฏิรูปการสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.)
ตามที่ได้เกิดเหตุการณ์ที่มีนายทหารกลุ่มหนึ่งเข้าไปขอตรวจสอบเนื้อหารายการ ”เสียงประชาชน ต้องฟังก่อนปฏิรูป” ของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
ตามที่สื่อมวลชนบางส่วนได้นำเสนอภาพ และข่าวเกี่ยวกับคดีอาชญากรรมหลายคดี ที่มีลักษณะเข้าข่ายละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
เรียน หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
เรียน พลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว หัวหน้าฝ่ายกิจการพิเศษ และประธานคณะกรรมการเพื่อติดตามการเผยแพร่ข่าวสารต่อสาธารณะ
4 องค์กรวิชาชีพสื่อ ระดมสมองผู้บริหารองค์กรสื่อทุกแขนง ร่วมหาแนวทางการทำงาน ภายใต้สถานการณ์ คสช. ย้ำบทบาทนักข่าวภาคสนาม
เรียน หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และเพื่อนสื่อมวลชน
ลิดรอนเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน
ตามที่องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก ได้ประกาศให้วันที่ 3 พฤษภาคมของทุกปีเป็น “วันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก”
ตามที่ศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) ออกแถลงการณ์ห้ามการถ่ายทอดสัญญาณหรือให้ความช่วยเหลือแก่แกนนำ กปปส
ตามที่ทางแกนนำคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.)
ในวันที่ 5 มีนาคม ของทุกปีเราสื่อมวลชนได้ยึดถือวันนี้เป็นวันนักข่าว ซึ่งคนข่าวในอดีตถือเอาวันก่อตั้งสมาคมนักข่าวฯ
จากกรณีที่มีการชุมนุมแสดงออกทางการเมืองทั้งฝ่ายที่เห็นต่างกับรัฐบาล และ ฝ่ายที่สนับสนุนรัฐบาล ในช่วงเวลาและสถานที่ที่แตกต่างกัน
เหตุการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องระหว่างการชุมนุมของ กปปส. นับเป็นสัญญาณความรุนแรงที่มีโอกาสบานปลายมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
การประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉิน) โดยนายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
ตามที่คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข(กปปส.)จัดการชุมนุมนำมาสู่การปฏิบัติการปิดกรุงเทพมหานคร